วันศุกร์ที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

lomeo and juliet

lomeo and juliet



โรเมโอและจูเลียต

ตามต้นฉบับแปล หรือ โรเมโอจูเลียต ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 (อังกฤษ: Romeo and Juliet) เป็นละครโศกนาฏกรรมประพันธ์โดย วิลเลียม เชกสเปียร์ แต่งในปี ค.ศ. 1595
เนื้อเรื่องเกี่ยวกับเรื่องราวความขัดแย้งของสองตระกูล คือ ตระกูล มอนตะคิว และ คาปุเล็ต ในเมืองเวโรนา ซึ่งระบุชัดเจนความขัดแย้งของสองตระกูลชัดเจนในตอนต้นของบทละครว่า


สองตระกูลใหญ่ซึ่งมีเกียรติยศเสมอกัน
ณ เมืองเวโรนาอันเป็นฉากแห่งเรื่องนี้
ต่างสั่งสมความแค้นมาแต่หนหลัง ก่อให้เกิดโทสะใหม่
จนญาติวงศาพากันนองเลือดทั้งสิ้น

ละครเรื่องนี้เป็นละครที่มีชื่อเสียงมาก ภาพยนตร์เรื่อง West Side Story ก็นำเรื่องนี้มาดัดแปลง

เรื่องย่อ

ภาพวาดละครโรเมโอและจูเลียต
เรื่องนี้เกิดขึ้น ณ เมืองเวโรนา ได้มี 2 ตระกูลใหญ่ คือ ตระกูลคาปุเล็ตและมอนตาคิวซึ่งไม่ถูกกันมาช้านาน เรื่องเริ่มขึ้นเมื่อโรเมโอแห่งตระกูลมอนตาคิวได้แอบแฝงกายเข้าไปในงานเลี้ยงของตระกูลคาปุเล็ตและได้พบกับจูเลียต เพียงทั้งคู่สบตากันทั้งคู่ก็ตกหลุมรักกัน แต่กลับมีอุปสรรคเพราะความบาดหมางกันของทั้ง 2 ตระกูล โรเมโอกับจูเลียตจึงได้จัดการแต่งงานกันอย่างลับๆ วันหนึ่งเมอร์คิวชิโอ เพื่อนรักของโรเมโอเกิดการทะเลาะกับญาติของจูเลียตและญาติของจูเลียตก็ได้ฆ่าเพื่อนรักของโรเมโอตาย โรเมโอโกรธมากจึงได้พลั้งมือฆ่าญาติของจูเลียตตาย โรเมโอจึงได้รับคำตัดสินให้เนรเทศออกนอกเมืองตลอดกาล แล้วเมื่อจูเลียตต้องแต่งงานโดยที่จูเลียตไม่ต้องการ จูเลียตจึงพยายามหาทางที่จะหนีหลีกหนีงานแต่งงาน เมื่อจูเลียตได้รู้เรื่องยาวิเศษที่ทำให้เหมือนตายแล้วแต่จริงๆ ยังไม่ตายจากบาทหลวงที่ทำพิธีแต่งงานให้ทั้งคู่ จึงกินเข้าไปแล้วจากนั้นบาทหลวงก็ส่งม้าเร็วส่งสารถึงแผนการดังกล่าวแก่โรมิโอ แต่โรเมโอสวนกับคนส่งสาร โรเมโอมาถึงเข้าใจว่าจูเลียตตายจริงๆ จึงเสียใจมากจึงดื่มยาพิษฆ่าตัวตาย โรเมโอสิ้นใจเพียงครู่เดียวจูเลียตก็ฟื้นขั้นมา พอจูเลียตเห็นดังนี้นจึงใช้กรีตของโรเมโอฆ่าตัวตายตามโรเมโอไป บิดามารดาทั้งสองฝ่ายมากถึงก็โศกเศร้ามาก จึงเลิกวิวาทบาดหมางกันนับแต่นั้นเป็นต้นมา


Roméo et Juliette (Romeo and Juliet) est une tragédie de William Shakespeare. Écrite vers le début de sa carrière, elle raconte l'histoire de deux jeunes amants dont la mort réconcilie leurs familles ennemies.
La pièce s'inscrit dans une série d'histoires d'amour tragiques remontant à l'Antiquité. Son intrigue est basée sur un conte italien traduit en anglais et en vers par Arthur Brooke en 1562 sous le titre The Tragical History of Romeus and Juliet. En 1582, William Painter en propose une version en prose dans Palace of Pleasure. Shakespeare emprunte aux deux, mais approfondit l'intrigue en développant les personnages secondaires, notamment Mercutio et le comte Pâris (. Probablement rédigée entre 1591 et 1595, la pièce est publiée pour la première fois en in-quarto en 1597. Ce texte, de qualité médiocre, a été corrigé dans les éditions suivantes, plus proches de l'original de Shakespeare.
Plusieurs éléments témoignent du talent naissant de dramaturge de Shakespeare : son usage particulier de la structure, notamment l'alternance entre scènes comiques et tragiques pour accroître la tension, son développement des personnages secondaires, et son usage d'intrigues annexes pour améliorer le récit. Chaque personnage se voit attribuer une forme poétique particulière, qui peut varier au fil de son évolution : ainsi Roméo devient-il davantage adepte du sonnet au fil de la pièce.
Roméo et Juliette a connu de nombreuses adaptations sur divers supports : théâtre, cinéma, opéra, comédie musicale. Sous la [Restauration anglaise], elle est abondamment éditée par William D'Avenant. Au xviiie siècle, David Garrickmodifie également de nombreuses scènes dans sa version, en écartant les éléments considérés comme indécents ; l'opéra de Georg Benda adapté de la pièce omet une bonne partie de l'action et ajoute une fin heureuse. Les interprétations du xixe siècle reviennent au texte d'origine et se concentrent sur un réalisme accru. En 1935, la version de John Gielgud reste très proche du texte de Shakespeare, et emploie des costumes et accessoires élisabéthains pour rehausser son caractère dramatique. Le xxe siècle voit également des adaptations aussi diverses que le film relativement fidèle de la MGM (1936), la comédie musicale West Side Story dans les années 1950, et le film de 1968 de Franco Zeffirelli ou encore le film de 1996 Roméo + Juliette de Baz Luhrmann.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น